Image maps,
เมื่อคุณศึกษาจนเข้าใจแล้ว,
มันจะกลายเป็นเรื่องง่ายๆ.
แต่สำหรับมือใหม่,
มันอาจสามารถสร้างความโมโหให้คุณได้ร้ายกาจทีเดียว.
ผู้เขียนใช้เวลาถึง 5
วันเพื่อทำให้ image map
แรกของผู้เขียนทำงาน.
แต่ตอนนี้ใช้เพียง 2 นาที
หรือไม่นานนัก. ยังไงสะ,
ก่อนอื่นคุณต้องตัดสินใจก่อนว่า
ต้องการ image maps แบบใด: client-side
หรือว่า server-side image maps.
และมันต่างก็อย่างไร?
Client-Side maps
ทำงานบนเว็ปเบลาเซอร์ของผู้ใช้
browsers end. มันทำงานได้ดีมาก,
แต่ใน browser รุ่นเก่าๆ
ไม่สามารถอ่านค่ามันได้
(like Netscape 1.0)
ผู้เยี่ยมก็จะไม่สามารถ
ใช้มันหรืออ่านค่าไม่ได้.
คุณก็จะเสียฐานลูกค้าไป
แต่ผู้เขียนคิดว่า,
เป็นเทกนิคที่วิเศษมาก.
คุณไม่ต้องกังวลกับการใช้
cgi-bin access เพื่อจะควบคุมมัน.
Server-Side
ทำงานคล้าย client-side map,
แต่จริงๆ
แล้วก็คือโปรแกรม. เมื่อ
map ถูกคลิก, โปรแกรมบน servers end
จะเริ่ม runs และนำ URL
ที่เหมาะสมมาให้ browser
ทำการ load แสดงผล.
สามารถทำงานได้บนเกือบทุก
browser ที่ผู้เขียนทราบ.
แต่ถ้าคุณไม่สามาร access
ถึง cgi-bin directory ได้,
ก็ไม่สามารถใช้มันได้.
Client-Side Image Maps
ต้วอย่างของ client-side map
จะเป็น map บนเพจ main page
ของเว็ปไซร์.
ต่อไปนี้คือ Source code:
<map name="MainMap">
<area shape=rect coords="0,0,187,30" href="tags/">
<area shape=rect coords="1,31,187,56" href="forms/">
<area shape=rect coords="1,56,187,77" href="tables/">
<area shape=rect coords="1,77,187,100" href="frames/">
<area shape=rect coords="1,100,187,124" href="cgi/">
<area shape=rect coords="1,124,187,148" href="javascript">
<area shape=rect coords="1,148,187,170" href="java/">
<area shape=rect coords="1,170,187,197" href="editors.html">
<area shape=rect coords="1,198,187,239" href="links.html">
</map>
<img src="picts/mainmap.gif" width=187 height=239
border=0 alt=The HTML Tutor main map - for HTML buffs
everywhere" usemap="#MainMap">
แทก <map></map>
กำหนดว่านี้เป็น map
อย่างแน่นอน, และ name
เป็นการตั้งชื่อ map
สำหรับใช้บนเบลาเซอร์.
ซึ่งอ้างไว้ในแทก <img src>.
เป็นการกำหนดว่าเป็น map
exists.
ตอนนี้มาว่ากันถึงแทกต่างๆ
ภายใน map กันบ้าง.
area shape=rect -
กำหนดลักษณะรูปทรงหรือ
shape ของพื้นที่ area
ที่จะทำลิ้งก์.
ซึ่งสามารถกำหนดเป็น
สี่เหลี่ยมประเภทต่างๆ,
วงกลม หรือรูปหลายๆ
เหลี่ยมแปลกๆ ก็ได้.
coords="1,2,3,4" -
กำหนดองค์ประกอบต่างๆ
ของส่านวงกลม
หรือรูปหลายๆ เหลี่ยม
แปลกๆ ดังกล่าวข้างต้น.
href="file.html" -
เป็นการบอกว่าเป็น hypertext link
ซึ้งเป็นสิ่งที่พื้นที่
area ใน map จะโยง ไปถึง.
ซึ่งสารถจะเป็นรูปภาพ
image,
หรือแม้นแต่จะเป็นแทก mailto:
ก็ได้. ขึ้นอยูกับการ
กำหนดของคุณ.
ตอนนี้,
เราก็จะทำการจบหรือแทก
end ทั้งหมดข้างบนด้วยแทก <img>.
คุณจะสังเกตุว่า
มันจะเหมือนกันกับแทกอื่นๆ
ทั้งหมด, มีเพียงแต่แทก usemap="#MainMap"
เท่านั้น.
ซึ่งถ้าปราศจากแทกนี้, map
จะไม่สามารถทำงานได้.
เพราะเป็นการบอกเบลาเซอร์ว่า
รูปภาพ
ที่กำลังจะทำการโหลด
ควรจะเกี่ยวข้องกับ map
และจะได้ใช้มันอย่างสอดล้องกกัน
ได้อย่างถูกต้อง.
ใช้ครับ,
นั้นเป็นวิธีที่ดี...
แต่เราจะสามารถใช้วิธีใดกำหนด
coordinates? Well, มีสองวิธีครับ.
วิธีที่ง่าย ที่สุดคือ
download Map this! image map editor
ที่มีคุณภาพสำหรับ Windows 95.
เป็นวิธีที่ง่าย
ที่สุดในการสร้างมัน.
ถ้าคุณไม่สามารถใช้วิธีนี้ได้,
ให้ลองหา Paint Shop Pro.
เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้คุณเห็น
coordinates ของรูปภาพ.
เป็นโปรแกรมกราฟฟิกที่ดีเช่นกันI.
เพียงแค่ใช้อุปกรณ์ eyedropper
เป็นตัวกำหนด coordinates.
Server-Side Image Maps
Server-side image maps มีลักษณะ basic layout
เหมือนกับของ client-side image maps,
แต่มันสั่งงานต่างกันกว่าเล็กน้อย.
เราจะใช้ coordinates from
ควบคู่ไปกับ map ด้านบน.
แต่ต่อไปนี้จะแสดงให้เห็นว่ามันจะ
ปรากฏอย่างไรใน server-side map:
default http://206.156.15.206/html/
rect http://206.156.15.206/html/tags/ 0,0 187,30
rect http://206.156.15.206/html/forms/ 1,31 187,56
rect http://206.156.15.206/html/tables/ 1,56 187,77
rect http://206.156.15.206/html/frames/ 1,77 187,100
rect http://206.156.15.206/html/cgi/ 1,100 187,124
rect http://206.156.15.206/html/javascript 1,124 187,148
rect http://206.156.15.206/html/java/ 1,148 187,170
rect http://206.156.15.206/html/editors.html 1,170 187,197
rect http://206.156.15.206/html/links.html 1,198 187,239
ซึ้งจะเป็นการบอกเซฟเวอร์
ว่าส่วนทีทำการเลือก
หรือ selection
นั้นเป็นสี่เหลื่ยม,
ซึ่งควรจะได้คล้ายๆ
ดังต่อไปนี้ http://206.156.15.206/html/tags
พร้อมกับโค๊ตต่างๆ
ที่กำหนด
ส่านประกอบต่างๆ ของ image map
ที่จะตามมาด้านหลังเช่นในตัวอย่าง.
ส่วน default
เป็นการกำหนดว่า
ควรจะให้รูปภาพลิ้งก์
ไปยังที่ไหน
เมื่อถูกคลิก
ซึ่งไม่ได้กำหนดไว้โดย
coordinates.
เพื่อให้สามารถทำงานได้
บนทุกๆ
ระบบเท่าที่จะเป็นไปได้
คุณควรจะใช้ <a href="/cgi-bin/imagemap/cgi-bin/maps/html.map"><img
src="picts/map.gif" ISMAP></a>.
คำว่า ISMAP
เป็นการบอกเซฟเวอร์ว่า
รูปภาพนี้เป็นภาพ image map,
และ html.map
เป็นการกำหนดองค์ประกอบต่างๆ
ของ image map นั้น. แทก /cgi-bin/imagemap
จะเป็นสคลิปร์ cgi
บนเซฟเวอร์ที่กำลังจะใช้,
ส่วนแทก /cgi-bin/maps/html.map
จะบอกสคริปร์ imagemap
ว่าที่ไฟล์ไหนจะเป็นตัวกำหนดองค์ประกอบต่างๆ
ของ image map.
ผู้เขียนทราบว่าอาจทำให้คุณสับสนบ้าง.
ดังนั้นถ้าคุณต้องการใช้
server-side image maps,
ควรสอบถามขอความช่วยเหลือ
ผู้ดูแลเซฟเวอร์ local webmaster
ของคุณ.
และถ้าไม่ได้ผลจริงๆ
ใส่ลงในเว็ปบอดก็ได้
หรือลองถามผู้เขียนมาเป็นทางสุดท้าย...
- ถ้าต้องการทราบรายละเอียดของ
image maps
ทั้งสองชนิดเพิ่มเติม,
หาเวลาว่าง
ลองเซ็กดูในไซร์ต่างๆ
ที่มีบทเรียน tutorials
ดูน๊ะครับ:
-
Return
Home
All
Artwork & Design ฉ 1997-1999 Krit Spooker |