Frames
เป็นเทคนิคที่มีประโยชน์มาก.
แต่ถ้าคุณใช้มันผิดวิธีละก็,
มันสารถทำให้คุณและ
ผู้เยี่ยมชมเครัาและผิดหวัง
ได้มากทีเดียว,
มากไปกว่านั้นยังสามารถทำให้เพจของคุณ
ดูวุ่นวายสับสนหรือ
น่าเกลียดได้อีกด้วย
ถ้าคุณนำไปใช้อย่างไม่เหมาะสมหรือระมัดระว้ง.
ดังนั้นของเตือนอีกครั้งว่า
"ควรใช้มันอย่างเข้าใจจริงน๊ะครับ".
ผู้เขียนเตือนคุณแล้วน๊ะ!
Note:
หรือถ้าลองทำแล้วไม่ work
ให้เปลี่ยน &It
ไปเป็นเครื่องหมายเปิดแทก
"<" แทน ดู
และให้ใช้กับ
ทุกตัวอย่างในทุกบทเรียนเลยครับ.
เช่นเดียวกับแทกl
HTML,
เฟรมมีโครงสร้างเฉพาะเช่นกัน,
โดยต้องเริ่มต้นด้วย
- <frameset>
- เฟรมเซ็ต
- เป็นการใส่แทก
<body> tag ลงไปในไฟล์ html.
ซึ่งมันมีต้วเลือกด้งนี้:
rows="#,
#" | "%, %" | "#*, *" - Rows
cols="#, #" | "%, %" | "#*,
*" - Columns
เครื่องหมาย
#'s
ในตัวอย่างหมายถึงการกำหนดขนาด
pixel sizes. ตัวอย่างเช่น:
<frameset rows="100,*">
จะแบ่งให้เป็นสองเฟรม:
เฟรมแรกเริ่มด้วยความสูง
100 pixels,
และอีกเฟรมหนึ่งกำหนดเป็นขนาดที่เหลือ.
เครื่องหมาย %'s
ในตัวอย่างหมายถึงการกำหนดขนาดของเฟรมเป็น
percentage. ตัวอย่างเช่น:
<frameset cols="25%, 75%">
จะแบ่งให้เป็นสอง columns:
column แรกกำหนดเป็น 25 percent
ของขนาดหน้าจอ, อีก column
หนึ่งกำหนดเป็น 75 percent.
เครื่องหมาย #*, *
ในตัวอย่างหมายถึงการที่เฟรมแรกมีขนาดสองเท่าของเฟรม
ที่สองrepresents.
ตัวอย่างเช่น:
<frameset rows="2*, *">
จะกำหนดขนาดเฟรมแรกให้มีขนาดสองเท่าของเฟรม
ที่สองwould.
- ต่อไปจะเป็นเนื้อหาที่อยู่ด้านในของเฟรม.
ซึ่งจะเป็นสิ่งที่กำหนดว่าอะไรอยู่ข้างในเฟรมนั้น
บ้าง โดยเริ่มต้นด้วย...
- <frame>
-เฟรมแทก
- เฟรมแทก
(fram tag) จะกำหนดทุกๆ
เฟรมเฟรมภายในเฟรมเซ็ต
(frameset). ซึ้งรวมถึง
โครงสร้างแทกต่างๆ
ด้านล่างนี้ด้วย:
<frame src="file.html"> - the frame
source
บอกเบลาเซอร์ว่าต้องการให้โหลดอะไร
ภายในเฟรมเฉพาะนี้.
คุณสามารถปล่ายว่าง
ไว้
หรือกำหนดให้โหลดภาพก็ได้เช่นกัน.
<frame name="whatever"> - the frame
name
This comes in handy
ถ้าคุณต้องการให้ลิงก์ในเฟรมหนึ้งไปโหลดบางอย่างในอีกเฟรม
หนึ่ง.
คุณสามารถตั้งชื่อ name
มันให้เป็นอะไรก็ได้ตามพอใจ.
<frame noresize> - noresize
ช่วยให้ใครก็ view
เพจของคุณไม่สามารถปรับขนาดหรือ
มิติ dimensions ได้ ต้อง view
ตามที่เห็นนั้นเท่านั้น.
จะเป็นการดีถ้าเลือกปรับเหมือนผู้เขียนเลือก!
<frame scrolling="yes"> - the
scrolling option
ช่วยให้คุณสามารถกำหนดว่าต้องการให้เฟรมสามารถเลื่อน
หรือ scrolled through ได้หรือไม่
สามารถกำหนดค่าเป็น
"yes", "no", หรือ
"auto".
<frame marginheight="number"> - the
margin height
ช่วยให้คุณสามารถกำหนดความสูงของขอบ
margin ภายในเฟรมเดี่ยว.
สามารถ กำหนดจำนวน number
ตั้งแต่ 1 ขึ้นไป.
<frame marginwidth="number"> - the
margin width
ช่วยให้คุณสามารถกำหนดความกว้างของขอบ
margin ภายในเฟรมเดี่ยว.
สามารถ กำหนดจำนวน number
ตั้งแต่ 1 ขึ้นไป.
<frame frameborder="number"> - the
frame border
ช่วยให้คุณสามารถกำหนดของเขต
border ระหว่าง frames.
สามารถกำหนดจำนวน
ตั้งแต่ 0 ขึ้นไป.
<frame framespacing="number"> -
frame spacing
ช่วยให้คุณกำหนดขนาดเฟรมในเฟรมเดี่วย.
สามารถกำหนดจำนวนตั้งแต่
0 ขึ้นไป.
ทำให้เพจดูเหมือนไม่มีเฟรม
ทำงานได้ดีบน Netscape 2.0+ และ
Microsoft Internet Explorer 3.0 ขึ้นไป.
- คุณอาจสงสัยว่า
สำหรับบางคนที่มีเบลาเซอร์ที่ไม่
support การทำงานของเฟรมล่ะ
จะทำอย่างไร?
ก็ให้ใส่แทกนี้ไว้หลังเฟรมแทกของคุณครับ:
- <noframes>
- the no frames tag
- หลังจากแทกนี้
คุณสามารถใส่แทก <body>
เหมือนอย่างปกติ.
เพื่อว่าถ้าผู้เยี่ยมบางคนใช้เบลาเซอร์เก่า
จะยังคงสามารถอ่านเพจนี้ได้
เพียงแต่ไม่มีเฟรมเท่านั้น.
แทกนี้ไม่มี options.
ตอนนี้มาที่เรื่องสนุกๆ
ก้นละ.
- <target>
- the target value
- The target value
คือการอนุญาติให้คุณ load
ไฟล์ในส่วนอื่นของเฟรม.
มันจะไม่ปรากฏ
บนส่วนของเฟรม.
มันจะปรากฏในตัว html
ไฟล์นั้นเท่านั้น.
ยกตัวอย่างเช่น.
สมมุติว่าคุณต้องการทำลิงก์
#1 ให้ไป load เพจใน #2. ในเฟรม
set up, หรือต้อง
การให้โหลดเพจนี้ไปแสดงในอีกเพจหนึ้งนั้นเอง
คุณต้องเขียนแบบนี้:
<frameset cols="150, *">
<frame href="file1.html" name="#1">
<frame href="file2.html" name="#2">
</frameset>
คุณจะทำลิงก์ของคุณในไฟล์1.html
ให้ดูคล้ายๆ แบบนี้:
<a href="file.html"
target="#2">
และคุณจะมำไฟล์ 2.html
ร่วมด้ายสิ่งที่ตามมาหลังจากแทก
<body> tag:
<base target="#2">
- แทกนี้
<target> tag
สามารถที่จะรวมคุณสมบัติบางตัวจากด้านล่างนี้ลงไปได้ครับ:
- target="_self"
- เป็นการสั่งให้
ไฟล์โหลดในเฟรมเดิม.
target="_parent" -
เป็นการสั่งให้
ไฟล์โหลดใน frameset เดิม.
target="_blank" - document
จำทำการโหลดในหน้าต่างใหม่
(new blank window).
target="_top" -
ลิงก์จะโหลดด้านนอกของเฟรม
โดยไม่เปิดเบลาเซอร์ใหม่
(without starting a new instance of the browser).
- เอาล่ะ!
ตอนนี้คิดว่าเขาใจหรือยังครับ?
ลองสมมุติว่า
ถ้าผมกำลังจะสร้างเฟรมให้เหมือน
รูปข้างล่างนี้:
- และนี้คือ
source สำหรับ layout นี้:
-
<frameset rows="250,*">
< frame src="love.html" name="love"
noresize scrolling ="no">
<frameset cols="33%, 33%, 33%">
< frame src="plain.html" name="hope"
noresize scrolling ="no">
< frame src="plain1.html" name="joy"
noresize scrolling ="no">
< frame src="plain2.html" name="peace"
noresize scrolling ="no">
</frameset>
</frameset>
อย่าเชื่อผมเสมอไปน๊ะครับ,
ลอง click
here ดูตัวอย่างที่นี้
แล้วดูว่าการทำงานของมัน.
หรือทดลองรันมันด้วย
เบลาเซอร์ตัวใหม่ new Netscape
หรือ Microsoft tags เพื่อกำจัด take
away
ไม่ให้มองเห็นเฟรมก็ได้.
โดยจะแสดงผลเหมือนอันแรกแต่
มองไม่เห็นเฟรม.
ต้องแน่ใจว่าตรวจดูบนทุกๆ
เพจ
เสมอเพื่อจะได้เห็นว่าแทก
layed out ออกมาอย่างไร,
โดยเฉพาะ <base target="*">
ข้างหลังแทก <body> tags
ในทุกๆ เพจ plain.html.
หว้งว่าจะมีส่วนช่วยสร้างความเข้าใจให้คุณบ้างน๊ะครับ.
แม้นว่าการใช้เฟรมจะควบคุมยาก
แต่ถ้าก็มีประโยชน์ต่อคุณมากจริงๆ
ถ้าใช้ได้ถูกต้องรู้จริง.
จึงควรพยายามครับ. Good luck,
และจำไว้เสมอ
ว่าต้องอดทนและ
อุตสาหะน๊ะครับ.
มันจะดูยุ่งยากสับสนหน่อยเฉพาะ
ตอนเริ่มต้น
ผู้เขียนเองก็ใช้เวลากว่า
3
อาทิตย์ในการเขียนเพจแรก
ให้ทำงานได้.
หวังว่าคุณคงไม่ใช้นานกว่านั้นน๊ะครับ
Good luck!
Return
Home
1997 Copyright Krit Spooker |