ASP ย่อมาจาก Active Server Page ซึ้งพัฒนาขึ้นโดย Microsoft เพื่อใช้ งานบน Internet โดย Asp จะทำหน้าที่ตีความภาษา สคริปต์ เช่น VB Script (โดยคำสั่งที่มี ASP tag จะมีเครื่องหมาย <% %> กำกับอยู่) ซึ้ง Browser ทั้วไป เช่น Netscape or Explore ไม่สามารถนำไปแสดงผลได้ จากนั้นจึงสร้างเอกสาร Html ซึ่งเป็นเอกสารที่ประกอบด้วย Html tag (คือคำสั่งที่มีเครื่องหมาย < > ) กำกับอยู่ ซึ้ง Browser สามารถนำไปใช้ แสดงผลได้. การทำงานของ ASP จึงเรียกว่า Server Side เพราะเกิดขึ้น เฉพาะฝั่ง Server เท่านั้น. จากนั้น ผลลัพธ์ที่ได้ จะถูกส่งไปยัง Server แล้ว เว็บเซร์ฟเวอร์ก็จะส่ง เอกสารนั้นไปยังเว็บเบราเซอร์ อีกทีหนึ่ง.
ASP จึงมีลักษณะ และจุดประสงค์การใช้งาน เหมือน CGI แต่ใช้งานได้ง่ายกว่า มาก ซึ้งสังเกตุได้จากนามสกุล .asp มีข้อแม้เพียงแต่ เซร์ฟเวอร์ที่จะสามารถใช้ ASP ได้นั้น จะต้องมีโปรแกรม Server Extension รันอยู่อีกด้วย. Asp จะติด มากับ IIS และ PWS โดยมีความสามารถในการเป็น server side script ใช้ภาษา VB Script เป็น cord และยังสามารถ ใช้ร่วมกับ JScript และ Perl Script ได้อีกด้วย. ทำงานในลักษณะเดียวกับ CGI.
วิธีเซ็ต System DSN อย่างเป็น step by step พร้อมตัวอย่างการ Query ข้อมูล:
ในการติดต่อกับ Database ด้วย ASP ขั้นตอนแรก คุณจะต้องทำการ set up DSN หรือ Data Source Name ก่อนครับ เพราะ ถ้าไม่เซ็ตก่อนแล้ว ASP ของเราก็จะไม่สามารถรู้จัก Database ของเราได้.
ขั้นตอนที่1:
เข้าไปใน
Control Penel
พยามหา
icon 32 Bits ODBC เมื่อเจอแล้วให้ double click
ลงไป.
ขั้นตอนที่2:
Set up Data
Source Name
พยามหา
icon 32 Bitsเมื่อ ODBC Data Source Administrator Window
เปิดขึ้นมา ให้เลือกที่ System DSN
ก็จะได้ ผลลัพธ์ ดังรูป
ซึ่งจะเห็นว่าเรามี Data Source Name
ชื่อว่า "Small Business Finalcial Manager"
จากหน้านี้ ถ้าต้องการ Add Data
Source Name
อ้นใหม่ขึ้นมาก็สามารถทำได้โดยเลือกที่
Add ครับ.
ขั้นตอนที่3:
การสร้าง
Data Source
Add ครับในที่นี้ ผู้เขียนสร้าง Data Source โดยใช้ฐานข้อมูลที่สร้างจาก Microsoft Access ครับ ซึ้งสามารถใช้ฐาน ข้อมูลตัวอื่นๆก็ได้ เช่น Dbase, Fox Pro, SQL etc. จากนั้นให้กดปุ่ม finish!
ขั้นตอนที่4:
การตั้งชื่อ
Data Source
ทำการตั้งชื่อ
Data Source Name ในที่นี้ใช้ชื่อว่า
"tables.dsn" จากนั้นกด Select
เพื่อทำการเลือก file database
ดังรูปข้างล่างต่อไป.
Click
ปุ่ม OK เมื่อเลือก file database
เสร็จเรียบร้อยแล้ว.
ขั้นตอนที่5:
ขั้นตอนสุดท้าย
หลังจากนั้นให้กลับมาที่จอด้านล่าง
ซึ่งจะสังเกตุเห็นว่ามี System
Data Source Name ใหม่ปรากฏ
เพิ่มขึ้นมาชื่อว่า "tables.dsn"
จากนี้ ถ้าไม่มี Data Source Name อื่นๆ
ที่ต้องการสร้างเพื่มอีก
ให้คลิกปุ่ม OK ด้านล่าง.
ในกรณีที่ท่าน
ต้องการสร้างเพิ่มอีกให้กลับไปเริ่มต้น
ในขั้นตอนที่ 2 อีกครั้งครับ
ส่วนถ้าใครต้องการแก้ไขค่าต่างๆ
ที่ได้สร้างไว้แล้ว
ให้คลิกที่ชื่อ Data Source Name นั้นๆ
แล้วกดปุ่ม configure ครับ.
ASP
เป็นอันเสร็จขั้นตอนการเซ็ต
DSN แล้วครับ. มาดูในส่วน ของ Code
ASP ที่จะนำข้อมูลใน Data Base
มาแสดงกันบ้าง.
query.asp <html> <TITLE>query.asp</TITLE> <body bgcolor="#FFFFFF"> <% ' ตัวอย่างการติดต่อ Database ผ่าน ADO Connection set conntemp=server.createobject("adodb.connection") 'method open เป็นการเปิด DataSource Name ขึ้นมา โดยในที่นี้ชื่อว่า tables.dsn conntemp.open "table.dsn" ' ตัวแปร temp เป็น SQL Statement ซึ่งจะทำการ List ข้อมูลในทุก record ของ table ' ที่ชื่อ "authors" temp="select * from authors" set rstemp=conntemp.execute(temp) ' ตัวแปร howmanyfields ใช้เก็บจำนวน field ที่มีอยู่ใน table นี้ howmanyfields=rstemp.fields.count -1 %> <table border=1> <tr> <% ' แสดงรายชื่อ fileds ทั้งหมดที่มีอยู่ใน table นี้ for i=0 to howmanyfields %> <td><b><%=rstemp(i).name %></B></TD> <% next %> </tr> <% ' แสดงรายละเอียดของข้อมูลในแต่ละ Records do while not rstemp.eof %> <tr> <% for i = 0 to howmanyfields%> <td valign=top><% = rstemp(i) %></td> <% next %> </tr> <% rstemp.movenext loop ' ปิดการติดต่อกับ Database rstemp.close set rstemp=nothing conntemp.close set conntemp=nothing%> </table> </body> </html> |
เป็นอ้นเข้าใจการ Set System DSN อย่างคร่าวๆ พร้อมตัวอย่าง query แล้วน๊ะครับ.
Feb 31, 2000 last update!
All Artwork & Design ฉ 1997-1999 Krit Spooker |